สิ่งที่จะช่วยให้เราให้เราไม่ป่วยเป็นโรคไตวายแบบเฉียบพลันคือ การใส่ใจดูแลสุขภาพของตัวเอง ได้แก่ การตรวจสุขภาพประจำปี และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการกินให้เหมาะสม
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : ไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอนของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโปทาลามัสมาสิ้นสุด และหลั่งฮอร์โมนประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลังดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง
ทำความรู้จักไขมันชนิดต่างๆ ในร่างกาย รวมถึงคำฮิตคุ้นหูอย่างคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีลดไขมันในเลือดเพื่อสุขภาพ
อาการของพังผืดทับเส้นประสาทที่ข้อมือ
ความผิดปกติ : ถ้าขาดจะเป็นโรคเบาจืด จะปัสสาวะบ่อยเนื่องจาก ท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อได้น้อย
บทความแพทยศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
สิ่งที่จะช่วยให้เราให้เราไม่ป่วยเป็นโรคไตวายแบบเฉียบพลันคือ การใส่ใจดูแลสุขภาพของตัวเอง ได้แก่ การตรวจสุขภาพประจำปี และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการกินให้เหมาะสม
ผักใบเขียว ผลไม้ และธัญพืชเต็มเมล็ดเป็นแหล่งที่ดีของไฟเบอร์ ซึ่งช่วยลดระดับไขมันในเลือด โดยเฉพาะไฟเบอร์ที่ละลายน้ำได้ เช่น ข้าวโอ๊ต, ถั่วต่างๆ, และผลไม้ เช่น แอปเปิลและส้ม ช่วยให้การทำงานของระบบย่อยอาหารดีขึ้นและลดการดูดซึมของไขมันในกระแสเลือด
มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เพราะมียูเรียและสารที่มีไนโตเจนเป็นองค์ประกอบคั่งค้างในเลือด
มือเกิดอาการอ่อนแรง หยิบจับของได้ยาก บางครั้งเมื่อหยิบของแล้วหลุดจากมือได้ง่าย และไม่สามารถกำมือได้สนิท
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
บางครั้งจะมีอาการเจ็บแบบอื่น ที่อาจทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือด แต่จริงๆ ไม่ได้เป็น เช่นเจ็บจี๊ด เจ็บแปล๊บ แต่เป็นการเจ็บจุดเดียวเหมือนโดนเข็มแทงและเป็นอาการที่เกิดขึ้นในระหว่างพักไม่ใช่ออกแรง และมีอาการต่อเนื่องนานหลายชั่วโมงหรือเป็นตลอดวันซึ่งถ้าขณะเป็นมีการขยับตัวหรือหายใจเข้าลึกๆ จะเจ็บมากขึ้น อาการเหล่านี้ไม่ใช่โรคหัวใจขาดเลือด แต่อาจเกิดจากกรณีกล้ามเนื้อหน้าอก หรือเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
• การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ในช่วงตั้งครรภ์ หรือวัยหมดประจำเดือน ทำให้เกิดการบวมที่ข้อมือได้ง่ายขึ้น
ผู้ที่ต้องทำงานโดยใช้ข้อมืออยู่เป็นประจำ หรือมีพฤติกรรมการใช้ข้อมืออยู่ในบางท่านานๆ เช่น การงอข้อมือ การกระดกข้อมือต่อเนื่องเป็นเวลานาน โดยเฉพาะพนักงานออฟฟิศที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์แทบจะตลอดเวลา หรือคนที่ทำกิจกรรมเดิมซ้ำๆ กันเป็นกิจวัตร รวมไปถึงนักกีฬาในประเภทที่ต้องใช้ข้อมือมากๆ อาจทำให้เกิดอาการปวดข้อมือ ชามือ อาการโรคหัวใจ และอาจรู้สึกมือไม่ค่อยมีแรงรวมด้วย